สงครามในพม่า - An Overview

ทำไมแมวส้มตัวผู้จอมแสบ ชอบออกผจญภัยไม่หยุดหย่อน

สงครามมหาเอเชียบูรพา ในช่วงสงคราม รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเข้าเป็นพันธมิตรทางทหารกับญี่ปุ่น และได้ดินแดนบางส่วนจากพม่า แต่ไม่ค่อยมีบทบาทการรบโดยตรงมากนัก

สงครามพม่าประชิดชายแดนไทย พร้อมข่าวฝ่ายต่อต้านยึดเมียวดี

โดยเฉพาะอย่างยิ่งกองทัพโกก้างซึ่งก็คือชาวจีนฮั่นที่อพยพมาตั้งรกรากอยู่บริเวณนี้ตั้งแต่เมื่อหลายร้อยปีก่อน แต่หลังจากอังกฤษ และจีนตกลงปักปันเขตแดนกันแล้ว เมืองเล่าก์ก่ายซึ่งเป็นถิ่นฐานหลักของชาวโกก้าง ถูกขีดเส้นกำหนดให้อยู่ฝั่งรัฐฉาน ทุกวันนี้ ชาวโกก้างยังสื่อสารกันด้วยภาษาจีน ทั้งการพูดและเขียนขณะที่ ดินแดนจีนที่อยู่ฝั่งตรงข้ามกับเมืองเล่าก์ก่าย คือเขตปกครองตนเองชนชาติไตและว้า จังหวัดหลินชาง มณฑลยูนนาน<

สำนักข่าวชายขอบ: สงครรามพม่า เผยน้ำแม่สายขุ่นข้นเหตุฝั่งท่าขี้เหล็กฉีดน้ำแรงอัดสูงหาแร่ทอง

ธุรกิจที่เฟื่องฟูอย่างมากที่ “เล่าก์ก่าย” ยังดึงดูด บรรดา “จีนเทา” หรือกลุ่มผู้ที่ทำผิดกฎหมาย หรือ อาชญากรชาวจีนที่หลบลี้หนีรอดการจับกุมจากในประเทศจีน เข้ามาแสวงหาพื้นที่ทำมาหากินที่เมืองชายแดนในประเทศพม่าแห่งนี้ด้วย

นอกจากนี้ จีนยังต้องการทำโครงการอีกมากมายในพม่า เช่น เขื่อนผลิตไฟฟ้า และโครงการอื่น ๆ ตามยุทธศาสตร์ “หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง”

สงครามไทย-ฝรั่งเศส สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ใช้กำลังบุกเข้าประเทศกัมพูชาของฝรั่งเศส

ส่วนเรื่องการส่งผู้ลี้ภัยในศูนย์พักพิงกลุ่มนี้กลับเมียนมานั้น พล.อ.ประยุทธ์กล่าวว่าต้องขึ้นอยู่กับสถานการณ์ในเมียนมา ซึ่งที่ผ่านมาก็ทยอยส่งกลับไปบ้างแล้ว แต่เมื่อเกิดวิกฤตการเมืองในเมียนมาจึงชะงักไป

ความเดือดร้อนของชาวบ้านที่ต้องหนีภัยสงครามครั้งนี้ นอกจากสิ่งที่เห็นจากภาพว่าต้องมาอยู่อาศัยและใช้ชีวิตอย่างยากลำบากแล้ว ยังพบว่ากลุ่มผู้เปราะบางอย่างผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวก็ไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

หน้าสำหรับผู้แก้ไขที่ออกจากระบบ เรียนรู้เพิ่มเติม ส่วนร่วม

การช่วยเหลือที่นอกเหนือจากแผนการรับมือของรัฐที่ได้เตรียมการไว้แล้ว ยังมีกลุ่มภาคประชาสังคมและหน่วยงานในองค์กรพัฒนาเอกชนในพื้นที่ที่ส่งความช่วยเหลือเฉพาะหน้าเร่งด่วน

จุดจบของรัฐบาลทหารใกล้มาถึงหรือไม่ ?

เกิดอะไรขึ้น? เครื่องบินเมียนมาลงจอดสนามบินแม่สอด หลังฝ่ายต่อต้านยึดเมียวดี

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Comments on “สงครามในพม่า - An Overview”

Leave a Reply

Gravatar